|
องค์การบริหารส่วนตำบล โนนค้อ อ.บุณฑริก จ.อุบลราชธานี |
แหล่งท่องเที่ยวอ่างเก็บน้ำห้วยเทียม
แหล่งท่องเที่ยวอ่างเก็บน้ำห้วยเทียม
คำขวัญประจำตำบลโนนค้อ
“โนนค้อถิ่นธรรม งามล้ำผ้ากาบบัว ถ้วนทั่วเครื่องจักสาน เบ่งบานวัฒนธรรม”
คำขวัญประจำตำบลโนนค้อ
“โนนค้อถิ่นธรรม งามล้ำผ้ากาบบัว ถ้วนทั่วเครื่องจักสาน เบ่งบานวัฒนธรรม”
ทำเลและที่ตั้ง
ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลโนนค้อ ตั้งอยู่ 268 หมู่ที่ 1บ้านโนนค้อ ตำบลโนนค้อ
อำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี เป็นตำบลหนึ่งในจำนวน 8 ตำบลของอำเภอบุณฑริก ห่างจาก
ที่ตั้งที่ว่าการอำเภอบุณฑริก ประมาณ 17 กิโลเมตร
- ทิศเหนือ มีพื้นที่ติดต่อกับ อบต. หนองสะโน และ อบต. บัวงาม
- ทิศใต้ มีพื้นที่ติดต่อกับ อบต. ห้วยข่า และเขตอำเภอนาจะหลวย
- ทิศตะวันออก มีพื้นที่ติดต่อกับ อบต. ห้วยข่า
- ทิศตะวันตก มีพื้นที่ติดต่อกับ อบต.โสกแสง อำเภอนาจะหลวย
เนื้อที่ (แสดงเนื้อที่โดยประมาณเป็นตารางกิโลเมตรและไร่)
พื้นที่ตำบลโนนค้อ มีเนื้อที่ประมาณ 88 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 54,000 ไร่
แยกเป็นพื้นที่อยู่อาศัย 6,688 ไร่ พื้นที่ทำการเกษตร 46,094 ไร่ โดยแยกได้ดังนี้ พื้นที่นา 45,387 ไร่ พื้นที่ไร่ 20 ไร่ พื้นที่ไม้ผลยืนต้น 466 ไร่ ,พื้นที่สวน 221 ไร่ พื้นที่อื่นๆ 1,218 ไร่
ภูมิประเทศ (แสดงภูมิประเทศของ อบต.)
- เป็นที่เป็นที่ราบ ดินเป็นดินร่วนปนทราย
- มีห้วยปอ , ห้วยตาดและห้วยสูบไหลผ่าน
ประวัติความเป็นมา
ทำเลและที่ตั้ง
ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลโนนค้อ ตั้งอยู่ 268 หมู่ที่ 1บ้านโนนค้อ ตำบลโนนค้อ
อำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี เป็นตำบลหนึ่งในจำนวน 8 ตำบลของอำเภอบุณฑริก ห่างจาก
ที่ตั้งที่ว่าการอำเภอบุณฑริก ประมาณ 17 กิโลเมตร
- ทิศเหนือ มีพื้นที่ติดต่อกับ อบต. หนองสะโน และ อบต. บัวงาม
- ทิศใต้ มีพื้นที่ติดต่อกับ อบต. ห้วยข่า และเขตอำเภอนาจะหลวย
- ทิศตะวันออก มีพื้นที่ติดต่อกับ อบต. ห้วยข่า
- ทิศตะวันตก มีพื้นที่ติดต่อกับ อบต.โสกแสง อำเภอนาจะหลวย
เนื้อที่ (แสดงเนื้อที่โดยประมาณเป็นตารางกิโลเมตรและไร่)
พื้นที่ตำบลโนนค้อ มีเนื้อที่ประมาณ 88 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 54,000 ไร่
แยกเป็นพื้นที่อยู่อาศัย 6,688 ไร่ พื้นที่ทำการเกษตร 46,094 ไร่ โดยแยกได้ดังนี้ พื้นที่นา 45,387 ไร่ พื้นที่ไร่ 20 ไร่ พื้นที่ไม้ผลยืนต้น 466 ไร่ ,พื้นที่สวน 221 ไร่ พื้นที่อื่นๆ 1,218 ไร่
ภูมิประเทศ (แสดงภูมิประเทศของ อบต.)
- เป็นที่เป็นที่ราบ ดินเป็นดินร่วนปนทราย
- มีห้วยปอ , ห้วยตาดและห้วยสูบไหลผ่าน
ประวัติความเป็นมา